Wannee Sukbangnop, Anowar Hosen, Sakchai Hongthong, Chutima Kuhakarn, Patoomratana Tuchinda, Suppisak Chaturonrutsamee, Sariyarach Thanasansurapong, Radeekorn Akkarawongsapat, Jitra Limthongkul, Chanita Napaswad, Arthit Chairoungdua, Kanoknetr Suksen, Narong Nuntasaen, and Vichai Reutrakul

งานวิจัยนี้เป็นงานที่ศึกษาองค์ประกอบทางเคมีของพืชที่มีชื่อทางวิทยาศาสตร์ว่า Anogeissus rivularis ที่มีชื่อว่า ตะเคียนน้า ที่มักพบที่จังหวัดอุบลราชธานี งานวิจัยนี้ได้น้าส่วนต่าง ๆ ได้แก่ ราก ล้าต้น และ กิ่ง-ใบ ของพืช ชนิดนี้ มาท้าการสกัดด้วยตัวท้าละลายเมทานอล จากนั้นน้ามาท้าการแยกโดยวิธีทางโครมาโตรกราฟี ได้สารประกอบ ประเภท tetrahydrofuran lignans ชนิดใหม่ 4 ชนิด ได้แก่ anorisols A-D (1–4) และสารอีก 14 ชนิดที่มีการพิสูจน์ โครงสร้างไปแล้ว คอนฟิกุเรชันที่สมบูรณ์ของสาร anorisols A-D ยืนยันโดยใช้ค่า circular dichroism ที่ได้จาการวัด สารตัวอย่าง และ จากการค้านวณ

สารที่แยกได้ที่มีปริมาณมากพอ ได้น้ามาศึกษาฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็ง และ การต้านเชื้อไวรัสเอชไอวี (reverse transcriptase และ syncytium reduction assays) โดยพบว่า สารแสดงฤทธิ์ในการยับยั้งเซลล์มะเร็งได้ต่้า สาร anorisol A แสดงฤทธิ์ในการต้านเชื้อไวรัสเอชไอวี (reverse transcriptase) โดยแสดงค่า IC50 ที่ 213.9 μM.

Bioactive tetrahydrofuran lignans from roots, stems, leaves and twigs of Anogeissus rivularis.
Fitoterapia, 2021, 151, 104885.